วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

คำถามประจำหน่วย โดย นางสาว อมิตา จันทร์หล้า


ข้าพเจ้ามัหลักปฏิบัติในการใช้อินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเอง 
และ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อผู้อื่นและสังคม ดังนี้



1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น เช่น ไม่ควรแสดงข้อความกล่าวหา


2.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนการทำงานของผู้อื่น เช่น เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ เปิดเพลงจากคอมพิวเตอร์เสียงดังรบกวนผู้อื่่


3.ไม่เปิดดูข้อมูลในแฟ้มของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต



4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร เช่น การเจาะรหัสบัตรเครดิตกราเจาะระบบข้อมูลของบริษัท



5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐาน



6.ไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธ์โดยไม่ได้รับอนุญาต



7.ไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์



8.ไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง



9.คำนึงภึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันเป็นผมมาจากการกระทำของตน



10.ต้อนใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฏ ระเบียบ กติกา และมารยาท



วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 2

เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีศักยภาพมากขึน- พร้อมทัง- มีความสามารถในการประยุกต์ใช้งาน
หลากหลายรูปแบบนั-น เป็นผลดีอย่างยิ งสำหรับการทำงานในโลกยุคปัจจุบัน คอมพิวเตอร์หนึ งเครื อง
สามารถคำนวณประมวลผลหรือทำงานให้สำเร็จลุล่วงไปได้ แต่บางครัง- ผลลัพธ์ที ได้ออกมานัน- มีความ
จำเป็นต้องนำไปประมวลต่อโดยใช้เครื องคอมพิวเตอร์เครื องอื น ๆ ดังนัน- การเชื อมต่อเครื องคอมพิวเตอร์
เข้าด้วยกัน จึงเป็นการเพม ิ ประสิทธิภาพและศักยภาพของการทำงานของเครือ งคอมพิวเตอร์ได้ เราสามารถ
เชื อมต่อคอมพิวเตอร์ที อยู่ต่างสถานที กันเข้าด้วยกัน เช่น ในมหาวิทยาลัยที มีหลากหลายคณะและหลาย
หน่วยงาน ซึ งอาจจะทำงานกันอยู่คนละอาคารแต่มีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกัน เป็นต้น หรืออาจจะ
เป็นการเชื อมต่อกันระหว่างมหาวิทยาลัย หรือระหว่างประเทศ จนเกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ทีเ ชื อมคอมพิวเตอร์ทัง- โลกไว้ด้วยกันที่รู้จักกันในชื อว่า อินเทอร์เน็ต

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนำคอมพิวเตอร์ตัง- แต่ 2 เครื องขึน- ไป มาเชื อมต่อกันด้วยอุปกรณ์
สื อสาร โดยการเชื อมต่อกันนี- อาจมีเฉพาะกลุ่มเครื องคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื น ๆ เช่น
เครื องพิมพ์ เป็นต้น ผู้ใช้งานสามารถแลกเปลีย นข้อมูลซึ งกันและกันในเครือข่ายและใช้อุปกรณ์ที เชื อม
ต่อกับเครือข่ายนั้นได้

ประวัติของอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ตกำเนิดขึน- เมือ ประมาณปี ค.ศ.1969 หรือประมาณปี พ.ศ. 2512 โดยพัฒนามาจาก อาร์
พาเน็ต (ARPAnet) ซึง เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายใต้ความรับผิดชอบของหน่วยงานโครงการวิจัยขัน- สูง
(Advanced Research Projects Agency) หรือเรียกชื อย่อว่า อาร์พา (ARPA) ซึง เป็นหน่วยงานในสังกัด
กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา (Department of Defense) จุดประสงค์ของโครงการอาร์พาเน็ต เพื อ
สร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีค งความสามารถในการติดต่อสื อสารถึงกันได้ แม้ว่าจะมีบางส่วนของเครือข่าย
ไม่สามารถทำงานได้ก็ตาม
อาร์พาเน็ตในขัน- ต้นเป็นเพียงเครือข่ายทดลองตัง- ขึน- เพื อสนับสนุนงานวิจัยด้านการทหาร แต่โดย
เนื-อแท้แล้วอาร์พาเป็นผลพวงมาจากความตึงเครียดทางการเมืองของโลก ในยุคสงครามเย็นระหว่างค่าย
คอมมิวนิสต์และค่ายเสรีประชาธิปไตย ต่อมาในปี 2512 ได้มีการปรับปรุงหน่วยงานอาร์พาและเรียกชื อใหม่
ว่า ดาร์พา (DARPA : Defense Research Project Agency ) และในปี 2518 ดาร์พาได้โอนหน้าทีด ูแล
รับผิดชอบอาร์พาเน็ตโดยตรงให้แก่ หน่วยสื อสารของกองทัพ (Defense Communications Agency) หรือ
DCA เนื องจากอาร์พาเน็ตได้แปรสภาพจากเครือข่ายที ปฏิบัติงานได้อย่างแท้จริงแล้ว ในปี 2526 อาร์
พาเน็ตแบ่งออกเป็น 2 เครือข่าย คือ เครือข่ายด้านการวิจัยใช้ชื อ อาร์พาเน็ตเหมือนเดิม ส่วนเครือข่ายของ
กองทัพใช้ชื อว่า "มิลเน็ต" (MILNET : MILitary NETwork) ซึง ใช้การเชื อมต่อโดยใช้โปรโตคอล TCP/IP
(Transmission Control Protocol / Internet Protocol ) เป็นครัง- แรก ในปี 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตร์
แห่งชาติอเมริกา (NSE) ได้ออกทุนการสร้างศูนย์ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชื อว่า NFSNET พอมีถึงปี 2533 อาร์พาเน็ตรองรับเป็น backbone ไม่ไหวจึงยุติบทบาท และเปลี ยนไปใช้ NFSNET และ
เครือข่ายอื นแทน และได้มีการเชื อมเครือข่ายต่างๆ ทำให้เครือข่ายมีขนาดใหญ่มากขึน- จนเป็นเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนี

วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย

การใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์นั-น มีวัตถุประสงค์หลายประการแตกต่างกันออกไปตามความต้องการของ
ผู้ใช้งาน และลักษณะของงาน ซึง พอจะแบ่งตามการใช้งานได้ดังนี-
1. การส(ือสาร (Communication): เป็นการแลกเปลี ยนข้อมูลซึ งกันและกันระหว่างเครื อง
คอมพิวเตอร์ด้วยกันเอง รวมไปถึงการสื อสารระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง เช่น การใช้ไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ซึง อาจจะมีการแลกเปลีย นข้อมูลกันจากการแนบไฟล์เอกสารไปด้วย
2. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resource Sharing): ทรัพยากรในทีน ี- คือ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ที
เชื อมต่ออยู่กับเครือข่าย เช่น เครื องพิมพ์, เครื องคอมพิวเตอร์, ฮาร์ดดิสก์ รวมไปถึงซอฟต์แวร์
เฉพาะบางประเภททีส ามารถใช้งานร่วมกันได้อีกด้วย เช่น ซอฟต์แวร์ทีท ำงานบนเครื องให้บริการ
(Server) ในการใช้ทรัพยากรร่วมกันนั-น นอกจากจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายแล้ว ยังเป็นการ
ทำงานร่วมกันเพื อเพม ิ ประสิทธิภาพของงานได้อีกด้วย เช่น ในห้องทำงานที มีเครื องคอมพิวเตอร์
10 เครื อง ใช้เครื องพิมพ์ร่วมกัน 1 เครื อง แทนทีจ ะมีเครื องพิมพ์ 10 เครื องสำหรับคอมพิวเตอร์
ทัง- หมด
3. การใช้ข้อมูลและแฟ้ มข้อมูลร่วมกัน (Data and File Sharing): เป็นการทำงานทีม ีผู้ให้บริการ
(Server) เป็นศูนย์กลาง ข้อมูลและแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ทีน ี เมื อผู้ใช้บริการ (Client) ต้องการใช้
ข้อมูล ก็สามารถติดต่อผู้ให้บริการเพื อรับข้อมูลได้ วิธีการนี-จะช่วยให้ผู้ใช้บริการทุกคนที ทำงาน
ร่วมกัน ได้รับข้อมูลชุดเดียวกันเสมอ เพื อให้การทำงานกับข้อมูลนัน- ถูกต้อง เช่น ธนาคารจะมี
ยอดเงินตัวเดียวในบัญชี ไม่ว่าเราจะกดเงินจากตู้ ATM ทีใ ดก็ตาม ยอดเงินทีม ีอยู่ก็จะถูกหักตามที
เราได้กดเงินไป หรือ การใช้เรียกดูหน้าเว็บไซต์ต่าง ๆ ผู้ใช้งานก็จะได้หน้าเว็บทีเ หมือนกัน เป็นต้น
นอกจากนัน- ผู้ให้บริการยังสามารถดูแลปกป้องข้อมูลไม่ให้บุคคลที ไม่มีสิทธิเp ข้าถึงข้อมูลได้ เช่น
การใช้รหัสผ่านในการเข้าถึงข้อมูล เป็นต้น
4. การเข้าใช้งานระยะไกล (Remote Login): ผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้ทรัพยากรได้ ไม่ว่าจะอยู่ทีใ ดก็
ตาม ภายใต้เงื อนไขทีว ่า เครื องคอมพิวเตอร์ของเขาจะต้องเชื อมต่ออยู่กับเครือข่าย ด้วยเหตุผลนี-
ผู้ดูแลระบบ11จึงสามารถเข้าดูแลระบบจากทีใ ดก็ได้
5. ความเชื(อถือได้ (Reliability): ในการใช้งานเครือข่ายในปัจจุบันนัน- ความน่าเชื อถือเป็นสง ิ ที
สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ งต่อการดำเนินธุรกิจ เช่น ร้านค้าออนไลน์ หรือ ระบบธนาคาร
ตัวอย่างเช่น เมื อลูกค้าต้องการใช้งานข้อมูล แต่ข้อมูลที ลูกค้าต้องการใช้ไม่ได้ ระบบก็ไม่มีความน่าเชื อถือ สามารถแก้ไขได้โดยการสำรองข้อมูลไว้หลาย ๆ สำเนา เมื อสำเนาที หนึ งใช้ไม่ได้ ก็
เปลี ยนไปใช้สำเนาที สอง เป็นต้น ซึ งจะทำให้การทำงานของลูกค้าไม่สะดุด เป็นการเพ ิมความ
น่าเชื อถือให้กับธุรกิจได้
6. การลดค่าใช้จ่าย (Cost Reduction): การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั-น ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้อง
เดินทางไปต่างสถานที เพื อทำการรวบรวมข้อมูล เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง นอกจากนี-
ยังสามารถลดค่ายใช้จ่ายในการสื อสารได้อีกด้วย เพราะการสื อสารผ่านเครือข่าย เช่น การใช้อีเมล
นัน- มีความสะดวก รวดเร็ว และเสียค่าบริการตํ า ทำให้ค่าใช้จ่ายโดยรวมและต้นทุนถูกลงด้วย

อุปกรณ์ที่(เกียวข้องกับเครือข่าย)

ในการเชื อมต่อเครื องคอมพิวเตอร์ให้เป็นเครือข่ายนัน- จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เสริมพิเศษเพื อทำการรับและ
ส่งสัญญาณทีจ ำเป็นต่าง ๆ โดยอุปกรณ์ทีจ ำเป็นพืน- ฐาน มีดังนี-
1. แผ่นวงจร LAN (LAN Card): เป็นแผ่นวงจรหรือการ์ดที ใช้ในการต่อเครื องคอมพิวเตอร์เข้ากับ
สายนำสัญญาณ ลักษณะของการ์ดจะเป็นแบบ PCI ทีใ ช้เสียบเข้าในแผ่นวงจรหลัก (Mainboard)
ของเครือ งคอมพิวเตอร์ อีกด้านหนึ งของการ์ดจะมีช่องเสียบสำหรับสายนำสัญญาณ หรือในบางรุ่น
จะเป็นเสาอากาศสำหรับการเชื อมต่อแบบไร้สาย ปัจจุบัน แผ่นวงจรหลักของเครื องคอมพิวเตอร์จะ
มีการ์ดอยู่เรียบร้อยแล้ว โดยทีผ ู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องซือ- การ์ดมาติดตัง- เพม ิ เติม เรียกว่า LAN Card
on Board

2. อุปกรณ์รวมสาย (Hub, ฮับ): เป็นอุปกรณ์ที จำเป็นในการเชื อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันใน
ระบบ LAN โดยจำนวนของเครื องคอมพิวเตอร์ที สามารถเชื อมต่อกันได้นัน- จะขึน- อยู่กับจำนวน
ช่องสัญญาณของฮับ หรือทีเ รียกว่าพอร์ต (Port) จำนวนพอร์ตของฮับนัน- อาจมีตัง- แต่ 8, 16, 24
หรือมากกว่านัน- ก็ได้ การทำงานของฮับนัน- เมื อได้รับข้อมูลเข้ามา จะทำการทวนและกระจาย
สัญญาณข้อมูลไปให้กับเครื องคอมพิวเตอร์ทุกเครื องในเครือข่าย เป็นผลให้คอมพิวเตอร์ที ไม่
เกีย วข้อง ได้รับข้อมูลนัน- ๆ ไปด้วย
3. สวิตช์ (Switch): เป็นอุปกรณ์ที ทำหน้าที ในการเชื อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน
เครือข่ายทัง- สองนัน- อาจจะมีโครงสร้างทางกายภาพทีเ หมือนหรือแตกต่างกันก็ได้ โครงสร้างทาง
กายภาพของเครือข่าย คือ ลักษณะของการเชื อมต่อ เช่น การเชื อมต่อแบบ Ethernet ซึง เป็นการ
เชื อมต่อที ได้รับความนิยมมากที สุดในปัจ จุบัน12 การเชื อมต่อแบบ Token-Ring การเชื อมต่อแบบ
Fiber Distributed Data Interface: FDDI การทำงานของสวิตช์นัน- เมื อรับข้อมูลเข้ามา Switch จะ
ทำการวิเคราะห์ข้อมูลว่า เป็นของเครื องคอมพิวเตอร์เครื องใดในเครือข่าย แล้วทำการส่งข้อมูลไป
ยังเครื องคอมพิวเตอร์นัน- ๆ จะช่วยลดการจราจรของข้อมูลในเครือข่าย การใช้งานเครือข่ายจะมี
ความคล่องตัวมากขึน-
4. อุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router): เป็นอุปกรณ์เครือข่ายทีท ำหน้าทีใ นการเชื อมต่อเครือข่ายระยะไกล
ตัง- แต่สองเครือข่ายขึน- ไปเข้าด้วยกัน ในการเชื อมต่อนี- อุปกรณ์จัดเส้นทางจะทำหน้าทีใ นการเลือก
เส้นทางทีเ หมาะสมมากที สุดในการส่งข้อมูล โดยอาศัยตารางเส้นทาง (routing table) ที มีอยู่ ใน
การทำงานจริงของอุปกรณ์จัดเส้นทางนั-น จะทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ทำให้ผลลัพธ์
ของการหาเส้นทางที จะส่งข้อมูลได้เส้นทางที สั-นที สุด รวดเร็วที สุด ซึ งปัจจุบันสามารถใช้งานกับการ
ทำงานในเวลาจริง (real time) ได้ เช่น การประชุมออนไลน์ การโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต
5. โมเด็ม (Modem): มาจากคำว่า Modulation/Demodulation เป็นอุปกรณ์ที ทำหน้าทีใ นการแปลง
สัญญาณดิจิทัล13 (digital) ให้เป็นแอนะล็อก14 (analog) และในทางตรงกันข้ามจะแปลงสัญญาณแอ
นะล็อกเป็นดิจิทัล โดยการทำ Modulation นัน- เป็นการแปลงสัญญาณดิจิทัลจากเครื อง
คอมพิวเตอร์ต้นทางให้กลายเป็นสัญญาณแอนะล็อก แล้วส่งไปตามสายโทรศัพท์ ส่วนการทำ
Demodulation นัน- เป็นการเปลี ยนจากสัญญาณแอนะล็อก ที ได้จากสายโทรศัพท์ให้กลับไปเป็น
สัญญาณดิจิทัล เพื อส่งต่อไปยังเครื องคอมพิวเตอร์ปลายทาง ซึ งสัญญาณดิจิทัลนัน- เป็นสัญญาณ
ของเครือ งคอมพิวเตอร์ เป็นได้แค่ s กับ t เท่านัน- ไม่สามารถส่งผ่านสายโทรศัพท์ได้ แต่สัญญาณ
แอนะล็อกเป็นสัญญาณไฟฟ้าทีส ามารถส่งผ่านสายโทรศัพท์ได้ โมเด็มสามารถแบ่งได้ u ประเภท
ดังนี

1. Analog Modem: เป็นโมเด็มรนุ่ แรก ๆ ทีท ำหน้าทีใ นการเชื อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ไม่สามารถใช้งานพร้อมกันกับการพูดคุยโทรศัพท์ได้ โดยมีความเร็วสูงสุดในการ
เชื อมต่ออยู่ที vw Kbps แต่ในการใช้งานจริง อาจจะเป็นไปไม่ได้เนื องจากสภาพแวดล้อมและ
สภาพของสายโทรศัพท์นัน เอง
2. Cable Modem: เป็นโมเด็มทีส ามารถรับ-ส่งข้อมูลดิจิทัลได้โดยตรง มีความเร็วในการเชื อมต่อ
สูง สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้หลากหลายประเภท เช่น ภาพและเสียง โมเด็มชนิดนี-จะใช้สายนำ
สัญญาณเป็นสายใยแก้วนำแสงและสายแกนร่วม มีความเร็วสูงสุดในการรับข้อมูลอยู่ที 10
Mbps และความเร็วสูงสุดในการส่งข้อมูลอยู่ที 2 Mbps
3. ISDN Modem: เป็นโมเด็มที ใช้ในเครือข่ายดิจิทัลที เรียกว่า Integrated Services Digital
Network: ISDN ซึง ได้รับการพัฒนาเพื อมารองรับการส่งผ่านข้อมูลประเภทภาพและเสียงผ่าน
อินเทอร์เน็ต เช่น Video Conference, Video Streaming สามารถสนับสนุนความเร็วได้ตั-งแต่
57.6 Kbps - 128 Kbps
4. ADSL Modem: เป็นโมเด็มทีท ำหน้าทีใ นการเชื อมต่ออยู่กับเครือข่ายตลอดเวลา มีความเร็วใน
การเชื อมต่อสูง สามารถรับส่งข้อมูลได้รวดเร็ว ในระหว่างการใช้งานอินเทอร์เน็ตยังสามารถ
พูดคุยโทรศัพท์ได้เป็นปกติ ปัจ จุบันได้รับความนิยมมากที สุด เพราะตัวเครื องและอัตรา


6. สายนำสัญญาณ หรือ ส(ือกลาง (Media): ในการรับ-ส่งข้อมูลนัน- จะต้องอาศัยสื อกลางในการส่ง
สัญญาณไฟฟ้าซึง บรรจุข้อมูลอยู่จากจุดส่งไปยังจุดรับ โดยสัญญาณไฟฟ้านี-อาจจะถูกส่งโดยแบบใช้
สายเคเบิล- (wired) หรือแบบไร้สาย (wireless) ก็ได้ ในการเลือกใช้สื อกลางเพื อส่งสัญญาณไฟฟ้า
นั-น ต้องเลือกให้เหมาะสมกับประเภทของเครือข่ายนั-น ๆ ด้วย
สายเคเบิล- ทีน ิยมใช้ ได้แก่
1. สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair): เป็นสายทองแดงขนาดเล็กที หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก มี
ลักษณะคล้ายสายโทรศัพท์ โดยที แต่ละคู่สายจะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื อลดการรบกวน
จากคลื นแม่เหล็กไฟฟ้าที มาจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิลเส้นเดียวกันหรือจากภายนอก
โดยระยะทางทีส ามารถเดินสายสัญญาณได้นัน- ไม่ควรเกิน 100 เมตร ถ้าเกินกว่านัน- จะทำให้สัญญาณอ่อน ไม่ชัดเจน อาจก่อให้เกิดปัญหาในการรับ-ส่งข้อมูลได้ สายตีเกลียวคู่ทีน ิยมใช้
แบ่งได้ 2 ประเภทคือ
1. สายตีเกลียวคู่ชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair: UTP): เป็นสายตีเกลียวคู่ที
ประกอบด้วยสายทองแดงขนาดเล็กหุ้มฉนวนจำนวน 8 เส้น แต่ละเส้นจะมีสีต่าง ๆ เพื อ
บ่งชีก- ารทำงานที ชัดเจน สายประเภทนี- ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เนื องจากใช้งาน
ง่าย ติดตัง- ได้ง่าย ราคาถูก และสามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ทีต ้องใช้ความเร็วสูงใน
การเชื อมต่อได้ดี

2. สายตีเกลียวคู่ชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair: STP): เป็นสายชนิดเดียวกันกับสาย
UTP แตกต่างกันตรงที แต่ละคู่ของสาย STP จะถูกหุ้มด้วยฉนวนหรือโลหะถัก (metal
braid) เพื อป้องกันการรบกวนจากคลื นแม่เหล็กไฟฟ้า สายประเภทนี-สามารถใช้เดินได้ไกล
กว่าสาย UTP แต่มีราคาแพงกว่า จึงไม่เป็นทีน ิยมมากนัก
2. สายเคเบิลร่วมแกน (Coaxial Cable): เป็นสายนำสัญญาณเส้นเดีย ว รอบนอกจะถูกห่อหุ้ม
ด้วยโลหะถัก เพื อป้องกันการรบกวนจากคลื นแม่เหล็กไฟฟ้ า ลักษณะของสายแกนร่วมจะ
เหมือนกับสายสัญญาณเคเบิลทีวี ในสมัยก่อนจะใช้ในการเชื อมต่อเครื องคอมพิวเตอร์ในระบบ
เครือข่ายระดับท้องถิ น (LAN) หรือ การส่งข้อมูลระยะไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์ การส่ง

ข้อมูลสัญญาณวีดิทัศน์ เป็นต้น แต่ในปัจจุบัน สายแกนร่วมนี-ไม่นิยมนำมาติดตัง- ในระบบ
เครือข่าย LAN เนื องจากมีความยงุ่ ยากมากกว่าการติดตัง- โดยใช้สาย UTP และราคาค่าใช้จ่าย
สูงกว่าด้วย
3. สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable): เป็นสายทีน ำสัญญาณแสงแทนสัญญาณไฟฟ้า ใช้
ในระบบเครือข่ายที มีความเร็วสูงมาก เช่น Gigabit Ethernet โดยข้อมูลจะถูกแปลงจาก


สัญญาณไฟฟ้าเป็นสัญญาณแสงโดยใช้อุปกรณ์พิเศษเสียก่อน ลักษณะของสายจะเป็นสาย
พลาสติกทีช ัน- ป้องกันหุ้มอยู่หลาย ๆ ชัน- ความเร็วในการส่งสัญญาณนัน- จะสูงมาก สามารถส่ง
ข้อมูลในระยะไกล ๆ ได้ และไม่มีการรบกวนจากคลื นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัญ หาของสายใยแก้วนำ
แสงคือความเปราะบางของสาย ซึง มีโอกาสชำรุดได้ง่ายกว่า และราคาทีย ังค่อนข้างแพงอยู่ใน
ปัจจุบัน
4. การสือสารแบบไร้สาย (Wireless): การส่งสัญญาณแบบไร้สายนัน- จะใช้คลื นวิทยุ (Radio
Frequency: RF) ในการรับ-ส่งข้อมูล โดยอาศัยอากาศเป็นตัวกลางในการกระจายสัญญาณ
ดังกล่าว ประโยชน์ทีส ามารถมองเห็นได้ชัดเจนจากการใช้เทคโนโลยีนี- คือ การทีเ ราไม่ต้องวาง
สายเคเบิลนัน เอง ซึง สามารถสร้างเครือข่ายในพืน- ทีท ีไ ม่เอื-ออำนวยได้ เช่น ในหอพักแห่งหนึ ง
เป็นตึก 3 ชัน- มีผู้อาศัยอยู่ชัน- ละ10 คน ซึง แต่ละคนสามารถเชื อมต่อกันได้โดยใช้เทคโนโลยี
แบบไร้สายได้ โดยทีไ ม่ต้องเดินสายเคเบิลใหม่
คลื นวิทยุที ใช้นัน- สามารถทะลุทะลวงสง ิ กีดขวางได้ดี ทัง- นี-ขึ-นอยู่กับความถี ของคลื นด้วย
สำหรับการเชื อมต่อทีเ ป็นประเภท เครือข่ายระดับท้องถน ิ ไร้สาย (Wireless LAN)15 นั-น จะมี
ความถีอ ยู่ระหว่าง 2.4 - 2.4835 GHz ซึง เป็นย่านความถี ทีอ นุญาตให้ใช้งานในแบบ สาธารณะ
ทางด้านวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม และการแพทย์ (Industrial Scientific and Medical: ISM)
ซึ งได้รับความนิยมในการใช้งานกันอย่างแพร่หลายมากที สุดในปัจจุบันนี- และมีอุปกรณ์ที
รองรับอย่างมากมายทีเดียว
มาตรฐานของ Wireless LAN: มาตรฐานของ Wireless LAN นัน- ถูกกำหนดขึน- โดย
สถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Institute of Electrical and Electronics
Engineers: IEEE) ซึง เป็นหน่วยงานทีด ูแลรับผิดชอบในการกำหนดมาตรฐานของเทคโนโลยี
ต่าง ๆ มาตรฐานของ Wireless LAN ที นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
1. 802.11b เป็นมาตรฐานเกี ยวกับการรับส่งข้อมูลด้วยอัตราความเร็วสูงสุดที 11 Mbps โดย
ใช้คลื นสัญญาณวิทยุ ย่านความถี 2.4 GHz ภายในรัศมีประมาณ 30 - 45 เมตร ผลิตภัณฑ์
อื น ๆ ทีใ ช้ความถีย ่านนี- เช่น เทคโนโลยี Bluetooth, โทรศัพท์ไร้สาย และเตาไมโครเวฟ
2. 802.11g เป็นมาตรฐานทีใ ช้คลื นความถี เดียวกันกับ 802.11b แต่มีความเร็วในการเชื อม
รับ-ส่งข้อมูลทีส ูงกว่า กล่าวคือ มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลเป็น 54 Mbps ในทางปฏิบัติ
อุปกรณ์ทีใ ช้มาตรฐาน 802.11b สามารถใช้กับ 802.11g ได้เลยโดยทีไ ม่จำเป็นต้องเปลีย น
ใหม่ ในปัจจุบัน มาตรฐานนี-จึงเป็นที นิยมมากขึ-น
3. 802.11n เป็นมาตรฐานที คาดว่า จะกลายมาเป็นบรรทัดฐานอันใหม่ ที ช่วยเพม ิ ความเร็ว
และระยะทางในการรับส่งข้อมูลให้ไกลขึ-น โดยยังใช้งานร่วมกับมาตรฐานเดิมอย่าง
802.11b/g ได้ด้วย อัตราการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดในทางทฤษฏีจะมากกว่า 200 Mbps ส่วน
ความเร็วจริงทีไ ด้รับจะอยู่ทีป ระมาณ 100 Mbps


ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที ใช้งานในปัจจุบันมีการเชื อมต่อกันอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ซึ งสามารถแบ่งได้ดังนี-
1. เครือข่ายระดับท้องถ(ิน (Local Area Network: LAN): เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ทีป ระกอบด้วย
กลุ่มของเครื องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใช้งานต่าง ๆ เช่น เครื องพิมพ์ เป็นต้น เครือข่ายนี-จะมี
ขนาดเล็ก โดยเครื องคอมพิวเตอร์นัน- จะเชื อมต่อกันในรัศมีที ใกล้ ๆ เช่น ภายในห้องเดียวกัน
ภายในอาคารเดียวกัน หรือเชื อมต่อระหว่างอาคารทีอ ยู่ภายในพืน- ทีบ ริเวณเดียวกัน โดยไม่ต้อง
เชื อมการติดต่อกับองค์การโทรศัพท์หรือการสื อสารแห่งประเทศไทย
เครือ งคอมพิวเตอร์ทีเ ชื อมต่อกันนัน- ส่วนใหญ่จะเป็นเครือ งไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ที
อาจจะใช้ฮาร์ดแวร์และ/หรือซอฟต์แวร์ที แตกต่างกันได้ ตัวอย่างหนึ งของเครือข่ายระดับท้องถน ิ นี-
คือ การใช้งานเครื องคอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการของคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัย
บูรพา ซึ งเครื องคอมพิวเตอร์ทุกเครื องจะเชื อมต่อกันเป็นเครือข่ายระดับท้องถ ินอยู่ตลอดเวลา
ความเร็วในการ
รับ-ส่งข้อมูลของเครือข่ายระดับท้องถน ิ นัน- เรม ิ ต้นที 10 Megabits per second: Mbps (เรียกอีกชื อ
ว่า Ethernet) ต่อมาได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื อง และได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง เนื องจากมี
โครงสร้างทีไ ม่ซับซ้อน ใช้งานได้ง่าย และเสียค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล
ได้เพิ มขึ-นมาเป็น 100 Mbps (เรียกอีกชื อว่า Fast Ethernet) ปัจ จุบัน ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลของเครือข่ายระดับท้องถน ิ มีมาตรฐานที 1000 Mbps หรือ 1 Gbps (เรียกอีกชื อว่า Gigabit
Ethernet) สามารถขยายขนาดของเครือข่ายออกไปได้ไกลสูงสุดประมาณ 10 กิโลเมตร
2. เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network: MAN): เป็นเครือข่ายระยะกลาง ที
ประกอบด้วยกลุ่มของเครื องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ ชื อมต่อกันอยู่ โดยเครือข่ายนี- เป็น
เครือข่ายขนาดกลาง ที เชื อมต่ออุปกรณ์ทัง- เมืองหรือจังหวัดเข้าด้วยกัน เพื อให้บริการต่าง ๆ เช่น
การส่งสัญญาณเสียง, ภาพ, ภาพเคลื อนไหว หรือ ข้อมูลต่าง ๆ
ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลของเครือข่ายระดับเมืองเรม ิ ต้นตัง- แต่ 100 Mbps จนถึง 1 Gbps โดยที
เครือข่ายสามารถขยายขนาดไปได้ไกล 100 กิโลเมตรหรือมากกว่านัน- โดยจะต้องมีการเชื อมต่อ
เข้ากับระบบเครือข่ายขององค์การโทรศัพท์ หรือองค์การสื อสารแห่งประเทศไทย
3. เครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายระยะไกล กล่าวคือ เครือข่าย
ระยะไกลนี- จะทำการเชื อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน ซึง การเชื อมต่
นัน- อาจจะเป็นการติดต่อสื อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีป หรือทัว โลกก็ได้ ในการเชื อมการ
ติด ต่ อ กัน นั-น จ ะ ต้ อ ง มีก า ร ต่ อ เ ข้ า กับ ร ะ บ บ สื อ ส า ร ข อ ง อ ง ค์ ก า ร โ ท ร ศัพ ท์ ห รือ
การสื อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งข้อมูลผ่านทางสายโทรศัพท์ในการ
ติดต่อสื อสารกัน
ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลนัน- จะแตกต่างกันออกไป ขึน- อยู่กับอัตราการเสียค่าบริการ
โดยความเร็วในการรับส่งข้อมูลนัน- จะเรม ิ ตัง- แต่ 64 Kbps ไปจนถึงระดับ Mbps ในการเชื อมต่อกัน
นัน- โดยปกติแล้ว จะเป็นการเชื อมต่อระบบเครือข่ายระดับท้องถน ิ (LAN) ตัง- แต่สองระบบขึน- ไป ซึง
หมายความว่า ระบบ WAN ประกอบด้วยระบบ LAN หลาย ๆ ระบบนันเอง

โครงสร้างของเครือข่าย (Network Topologies)

โครงสร้างของเครือข่ายนัน- เป็นโครงสร้างทางกายภาพที เกิดจากการนำอุปกรณ์เครือข่าย เช่น
คอมพิวเตอร์, เครื องพิมพ์, เครื องสแกนเนอร์, ฮับ, สวิตช์, อุปกรณ์จัดเส้นทาง มาเชื อมเข้าด้วยกันโดย
อาศัยสื อกลาง เช่น สายเคเบิล- ชนิดต่าง ๆ โครงสร้างที ต่างกันของการเชื อมต่อมีผลต่อการทำงานโดยตรง
ของเครือข่าย ซึ งในการออกแบบเครือข่ายนัน- ผู้ออกแบบต้องคำนึงถึงการทำงานในส่วนนี-เป็นสำคัญ
โครงสร้างของเครือข่ายมีรูปแบบดังนี


โครงสร้างแบบบัส (Bus)

โครงสร้างแบบบัส (Bus) คือ การเชื อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายอื น ๆ ในลักษณะ
อนุกรมต่อเนื องกันไป โดยทีต ้นสายและปลายสายของบัสจะถูกปิดด้วยตัวต้านทานทีม ีค่าความต้านทานสูง
มาก โครงสร้างในลักษณะนี- มีข้อดีคือ ประหยัดค่าใช้จ่าย เนื องจากใช้เพียงสายเคเบิลเพียงเส้นเดียวเท่านัน-
ไม่จำเป็นต้องมีอุปกรณ์อื น ๆ เสริม เช่น ฮับหรือสวิตช์ แต่ข้อด้อยของโครงสร้างประเภทนี-คือ ถ้ามีปัญหา
กับสายเคเบิล จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ทัง- เครือข่าย หรือ ถ้าจะมีการเพม ิ หรือลดจำนวนคอมพิวเตอร์ที
จะเชื อมต่อ ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานเครือข่ายในขณะนั-นได้ ปัจจุบันไม่เป็นที นิยมมากเท่าใดนัก


เนืองจากมีเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเข้ามาทดแทน


โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring)

โครงสร้างแบบวงแหวนนัน- จะเป็นการเชื อมต่อเครื องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายอื น ๆ เข้า
ด้วยกันด้วยสายเคเบิลเพียงเส้นเดียวเป็นเครือข่ายในลักษณะของวงแหวน คอมพิวเตอร์หนึ งเครื องจะทำ
การส่งข้อมูลไปให้เครือ งถัดไปเรือ ย ๆ ในทิศทางเดียว จนข้อมูลไปถึงเครื องทีป ลายทาง ในการเชื อมต่อกัน
ลักษณะนี- มีข้อด้อยคล้ายกับโครงสร้างแบบบัสเนื องจาก เมื อสายเคเบิลตอนใดตอนหนึ งขาด ก็จะทำให้ไม่
สามารถใช้งานทัง- เครือข่ายได้ นอกจากนัน- การที จะเพม ิ หรือลดจำนวนเครื องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
จะต้องทำการหยุดการใช้งานเครือข่ายทัง- หมดก่อน จึงจะสามารถทำได้

โครงสร้างแบบดาว (Star)

โครงสร้างแบบดาวมีลักษณะการเชื อมต่อแบบดวงดาว กล่าวคือ จะมีอุปกรณ์เครือข่าย เช่น ฮับ,
สวิตช์ เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย และมีอุปกรณ์เครือข่ายอื น ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื องพิมพ์ เชื อมต่ออยู่
การส่งผ่านข้อมูลนัน- จะต้องส่งผ่านศูนย์กลางเสมอ โดยศูนย์กลางจะทำการควบคุมเครือข่ายทัง- หมด ข้อดี
ของโครงสร้างชนิดนี-คือ เมื อเครื องใดเครื องหนึ งใช้การไม่ได้ ก็จะไม่กระทบต่อทัง- เครือข่าย นัน หมายความ
ว่า เราสามารถเพม ิ หรือลดจำนวนเครื องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ โดยที ไม่จำเป็นต้องหยุดการทำงาน
ของเครือข่ายโดยรวมก่อน นอกจากนี-แล้ว การตรวจหาข้อผิดของเครือข่ายก็สามารถกระทำได้โดยง่าย
ข้อด้อยของโครงสร้างประเภทนี-คือ การเชื อมต่อนัน- จะต้องใช้สายเคเบิลที ยาวมากกว่าโครงสร้างแบบบัส
และถ้าศูนย์กลางของเครือข่ายไม่สามารถทำงานได้ ก็จะส่งผลให้เครื องคอมพิวเตอร์ที เชื อมต่ออยู่ไม่
สามารถใช้งานเครือข่ายได้ด้วยเช่นกัน
ในอดีตนัน- ราคาของโครงสร้างแบบดาวจะสูงกว่าโครงสร้างแบบบัส เนื องจากจะต้องจ่ายค่าอุปกรณ์
ศูนย์กลางด้วย แต่ในปัจจุบัน ราคาของอุปกรณ์ศูนย์กลางเช่น Hub หรือ Switch นั-น มีราคาที ถูกลงมากและมีประสิทธิภาพที สูงมากขึ-นด้วย ดังนั-น โครงสร้างแบบดาวจึงเป็นที นิยมอย่างมากในปัจจุบัน

โครงสร้างแบบต้นไม้

โครงสร้างแบบต้นไม้นี- จะเป็นการเชื อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายอื น ๆ โดยใช้
คุณลักษณะของโครงสร้างแบบบัสและดาว กล่าวคือ เครื องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายอื น ๆ จะถูก
เชื อมต่อเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มแบบดาวก่อน แล้วจึงทำการเชื อมกลุ่มต่าง ๆ นี-เข้าด้วยกันแบบบัส ซึ งจะมี
ลักษณะคล้ายกับรูปต้นไม้
 โครงสร้างแบบต้นไม้นี- มีข้อดีคือ สามารถใช้ขยายเครือข่ายที มีอยู่แล้วได้ ทำให้
สามารถทีจ ะจัดการกับเครือข่ายให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากทีสุด 
นอกจากนัน- อุปกรณ์เครือข่ายใน
ปัจจุบัน ก็สามารถใช้งานกับโครงสร้างประเภทนี-ได้เป็นอย่างดี ส่วนข้อด้อยของโครงสร้างแบบ 
Tree นั้น จะ
เห็นได้ชัดคือ เมื อสายเคเบิลกลางที เชื อมกลุ่มต่าง ๆ
 ชำรุดหรือใช้การไม่ได้ จะทำให้เครือข่ายทัง- หมดไม่
สามารถใช้งานได้เช่นกัน อีกประการหนึ งคือ การตัง- ค่าต่าง ๆ นัน- มีความซับซ้อนและยุ่งยากมากกว่า
ปัจจุบันนี- การเชื อมต่อแบบนี- ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง


เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

เมือเชือมต่อเครือข่ายระดับท้องถิน (LAN) หลาย ๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน จะทําให้ขนาดของ
เครือข่ายนั-น ขยายใหญ่ขึ-นมาก เช่น หน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยบูรพาเชือมต่อกันอยู่ในระบบ 
LAN, หน่วยงานต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก็เชือมกันอยู่ในระบบ LAN เมือเราเชือมต่อทั-งสองเข้า
ด้วยกัน ก็จะเกิดเป็นระบบ WAN ขึ-น ซึงถ้าเราเชือมต่อกับมหาวิทยาลัย Oxford ในประเทศอังกฤษ ก็จะทํา
ให้เราสามารถแลกเปลียนข้อมูลกันได้ และถ้าทําเช่นนี-ไปทัวโลก ทั-งโลกก็จะสามารถสือสารและแลกเปลียน
ข้อมูลกันได้ทั-งหมด เครือข่ายดังกล่าวนี- เราเรียกว่า เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 
โดยทัวไปแล้ว เวลาเราใช้งานอินเทอร์เน็ต เราจะใช้บริการของการชมหน้าเว็บไซต์เป็นส่วนใหญ่ 
ซึงอาจกล่าวได้ว่า อินเทอร์เน็ตนั-น เป็นเสมือนสถานทีพบปะกันของกลุ่มคนแบบออนไลน์ทีให้ทุกคนมาออก
ร้าน (หน้าเว็บไซต์) ของตนเอง กลุ่มคนดังกล่าวมีหลายประเภทปะปนกันไป เช่น พ่อค้า แม่ค้า ลูกค้า 
นักศึกษา นักวิชาการ นักธุรกิจ โดยแต่ละคนละนําเสนอหน้าเว็บของตนเองให้ผู้อืนได้เห็น ผู้คนก็สามารถ
เข้าไปชมได้ แต่ไม่สามารถจับต้องได้ เพราะสิงทีนํามาแสดง ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ, ภาพนิง, 
ภาพเคลือนไหว หรืออืน ๆ ล้วนแล้วแต่ได้รับการแปลงให้อยู่ในรูปดิจิทัลทั-งสิ-น ฉะนั-น อินเทอร์เน็ตจึงเป็น
แหล่งทีรวมข้อมูลขนาดมหาศาลนันเอง การทีเราเข้าชมเว็บไซต์ จึงไม่ใช่เป็นการเข้าไปดูสิงของจริง ๆ 
หากแต่เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางในการเข้าชมเท่านั-น 
 การเชือมต่อกับอินเทอร์เน็ตนั-น เราไม่สามารถเชือมต่อจากเครืองคอมพิวเตอร์ของเราได้โดยตรง 
เราจะต้องทําการเชือมต่อไปยังผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) ก่อน จากนั-น ISP 
ก็จะทําการเชือมต่อเราเข้ากับอินเทอร์เน็ตอีกครั-งหนึง โดยเราจะต้องเสียค่าบริการให้กับ ISP ในการ
เชือมต่อ ตัวอย่างของ ISP ในประเทศไทย เช่น CS Loxinfo, CAT, True 


ตารางแสดง ISP ในประเทศไทย (บางส่วน) 

การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ในการเชือมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั-น สามารถทําได้ในหลายกรณี เช่น การเชือมต่อผ่าน
สายโทรศัพท์ การเชือมต่อผ่านระบบ LAN ซึงสามารถเลือกได้อีกว่า เราต้องการจะเชือมต่อแบบครัAงคราว 
(dial-up) หมายถึง ถ้าต้องการเชือมต่อกับอินเทอร์เน็ต ก็ทําการหมุนโทรศัพท์ไปที ISP เมือเลิกใช้งาน ก็ทํา
การวางสาย หรือเชือมต่อแบบตลอดเวลา ซึงจะสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลาโดยทีไม่ต้องมีการ
หมุนโทรศัพท์ทุกครั-งไป 
การเชื่อมอมต่อผานระบบโทรศัพท์ 
 ในการเชือมต่อผ่านระบบโทรศัพท์นั-น จําเป็นจะต้องอาศัยอุปกรณ์ทีจําเป็นตัวหนึง นันคือ ในการ
เลือกใช้โมเด็มนั-น ก็ขึ-นอยู่กับว่าเราจะเลือกใช้บริการประเภทใด โดยทัวไปแล้ว การบริการทีนิยมใช้ มีอยู่ 3 
ประเภท ได้แก่ 
1. การเชื่อมต่อผ่าน analog modem ธรรมดา เป็นการเชื่อมต่อในระยะแรก ๆ ของการใช้
อินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงสุดในการเชื่อมต่ออยู่ที่ 56 Kbps คือสามารถส่งข้อมูลได้สูงสุด 56 กิโลบิตต่
อวินาที การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องผ่านโมเด็มจะเป็นไปได้ เมื่อโมเด็มที่ใช้งาน
ทั้งสองเครื่อง ทํางานด้วยความเร็วเท่ากัน ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางใช้โมเด็มที่มีความเร็ว
สูงสุด 56 Kbps แต่เครื่องปลายทางใช้โมเด็มที่มีความเร็วสูงสุดเพียง 28.8 Kbps เครื่องคอมพิวเตอร์
ต้นทางต้องปรับลดความเร็วของโมเด็มลงเป็น 28.8 Kbps จึงจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ในปัจจุ
บันกระบวนการปรับความเร็วเช่นนี้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ดีถึงแม้ว่าโมเด็มทั้งสองจะปรับความเร็วให้เท่ากันแล้ว ก็ไม่ได้หมายความว่า จะสามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วเช่นนี้ได้ตลอดเวลา 
ทั้งนี้เนื่องจากความเร็วในการสื่อสารข้อมูลขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกอีกหลายอย่าง เช่น ระดับ
สัญญาณรบกวนในสายโทรศัพท์เพิ่มขึ้นโมเด็มต้องปรับลดความเร็วลงเพื่อให้การติดต่อสื่อสารเป็นไป
ได้ และหากมีปริมาณของผู้ใช้งานระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อเข้าหาผู้ให้บริการเครือข่ายในขณะนั้น
มากขึ้นก็จะทําให้ความเร็วในการให้บริการสื่อสารลดลง
2. การเชื(อมต่อผาน ADSL modem ่ การเชื่อมต่อนี้ ส่วนมากจะเป็นการเชื่อมต่อตลอดเวลาสามารถ

ใช้อินเทอร์เน็ตได้ โดยไม่กระทบต่อการโทรศัพท์พื้นฐาน ADSL คือ Asymmetrical Digital 
Subscriber Line เป็นเทคโนโลยีที่สนับสนุนการเชื่อมต่อความเร็วสูง โดยมีความเร็วขาขึ้น 
(Upstream: จากผู้ใช้ไปยัง ISP) กับความเร็วขาลง (Downstream: จาก ISP มายังผู้ใช้) ไม่เท่ากัน
เทคโนโลยี ADSL เหมาะสําหรับผู้ใช้ตามบ้าน ไม่เหมาะกับลูกค้าทางธุรกิจที่ต้องการความเร็วในการ
เชื่อมต่อสูงทั้งสองทิศทาง ปัจจุบันความเร็วที่เปิดให้บริการมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับข้อเสนอทางการ
ขายของแต่ละบริษัทให้บริการอินเทอร์เน็ต เช่นตัวเลข 4096/512 Kbps หมายถึง ความเร็วขาลง 
4096 Kbps และ ความเร็วขาขึ้น 512 Kbps เช่น 3bb.co.th เปิดให้เช่าวงจร 4096/512 Kbps ใน
ราคาประมาณ 590 บาทต่อเดือน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2553) หมายถึง ถ้าผู้ใช้จ่าย 590 บาทต่อเดือน แล้
วผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็ว 4096 Kbps สําหรับความเร็วขาลง 
และความเร็ว 512 Kbps สําหรับความเร็วขาขึ้นได้ตลอดเวลา โดยไม่จําเป็นต้องหมุนโทรศัพท์ทุก
ครั้งก่อนการเชื่อมต่อ และในขณะเดียวกันยังสามารถใช้โทรศัพท์ได้อย่างปกติอีกด้วย 
 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อด้วย ADSL ได้แก่ ADSL 
modem, ตัวกรองความถี่ (Filter) หรือทางการค้านิยมเรียกว่า ADSL Splitter และสายโทรศัพท์ที่
รองรับเทคโนโลยี ADSL ในการติดตั้งนั้น ผู้ใช้ต้องต่อ Filter เข้ากับสายโทรศัพท์ก่อน เพื่อให้ Filter 
แยกความถี่สัญญาณเสียง และความถี่ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลออกจากกัน มิฉะนั้นผู้ใช้จะได้ยินเสียง
รบกวนระหว่างยกหูโทรศัพท์
3. การเชื(อมต่อโดยผ่านโทรศัพท์มือถือ ในปจจุบัน โทรศัพท์มือถือมีอุปกรณ์โมเด็มอยู่ในตัว ั
เรียบร้อยแล้ว เราสามารถเชือมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับโทรศัพท์มือถือ เพือใช้งานอินเทอร์เน็ตได้
ทันที การเชือมต่อนั-น อาจจะใช้วิธีการเชือมต่อผ่านสายเคเบิล USB, Infrared หรือ Bluetooth ก็ได้ 
สัญญาณทีใช้เชือมต่อไปยัง ISP นั-น มีหลายระบบ เช่น GPRS (General Packet Radio Switch), 
EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution), 3G ซึง GPRS มีความเร็วในการส่งข้อมูล
อยู่ที 40 Kbps, EDGE มีความเร็วในการส่งข้อมูลอยู่ที 236 Kbps และ 3G มีความเร็วในการ
เชือมต่อขาลงอยู่ที 7.2 Mbps และความเร็วขาขึ-นอยู่ที 348 Kbps (ในประเทศไทย) สําหรับอัตรา
ค่าบริการนั-นจะแตกต่างกันไป ขึ-นอยู่กับการทําสัญญากับบริษัทผู้ให้บริการ แต่โดยทัวไปแล้ว อยู่
ในเกณฑ์ทีสูงพอสมควร เมือเทียบกับการใช้บริการประเภทอืน ๆ
การเชื่อมต่อผานระบบเครือข่ายขององค์กร/บริษัท 
 ในการเชือมต่อผ่านระบบเครือข่ายขององค์กรหรือบริษัทนั-น โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการเชือมต่อ
ในระบบเครือข่ายท้องถิน (LAN) ซึงคอมพิวเตอร์ทีเชือมต่อนั-น จะแสดงตนเสมือนเป็นหนึงในเครือง
คอมพิวเตอร์ของเครือข่ายนั-น ๆ โดยการเชือมต่อจะนิยมใช้ 2 วิธี คือ 
1. การเชื(อมต่อผานสายเคเบ ่ ิล เป็นการเชือมต่อโดยใช้แผ่นวงจร LAN Card ร่วมกับสายเคเบิล
ประเภทสายตีเกลียวคู่ ซึงเป็นทีนิยมใช้กันทัวไป โดยปกติแล้ว ถ้ามีการเชือมต่อสายเคเบิล
อย่างถูกต้องแล้ว สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้เลย
2. การเชื(อมต่อแบบไร้สาย เป็นการเชือมต่อทีได้รับความนิยมมากขึ-นในปจจุบัน เพราะมีการใช้ 
คอมพิวเตอร์ขนาดพกพาจําพวกโน๊ตบุ๊คมากขึ-น หรือแม้แต่ในโทรศัพท์มือถือเอง ก็สามารถ
เชือมต่อแบบ WLAN หรือ WiFi ได้ เมือเราเปิดและค้นหาสัญญาณ WLAN เราต้องทําการ
เลือก Service Set Identifier: SSID ทีสามารถใช้งานได้ ซึงในการต่อสัญญาณนั-น อาจจะมีการเข้ารหัสสัญญาณเพือเพิมความปลอดภัยจากการถูกจารกรรมข้อมูล เช่น การเข้ารหัสแบบ 
Wired Equivalent Privacy: WEP (ปจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว เนืองจากสามารถแกะรหัสได้ง่าย) 
หรือ Wi-Fi Protected Access: WPA และ WPA2 ซึงจะมีความปลอดภัยมากกว่า ในบาง
สถานการณ์จําเป็นจะต้องมีการใช้ user name และ password เพือแสดงตัวตนด้วย เช่น การ
ใช้งานอินเทอร์เน็ตในมหาวิทยาลัยบูรพา เป็นต้น 

ระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยบูรพา 
มหาวิทยาลัยบูรพามีวิทยาเขตสามแห่ง คือ วิทยาเขตบางแสน, วิทยาเขตจันทบุรี และวิทยา 
เขตสระแก้ว ซึ่งวิทยาเขตแต่ละแห่งมีการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายท้องถิ่นภายในแล้ว และเพื่อ
ให้ทุกวิทยาเขตสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ จึงจําเป็นต้องเช่าคู่สายเพื่อเชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่นของแต่ละวิทยา
เขตเข้าเป็นเครือข่ายเดียวกัน โดยใช้เครือข่ายของวิทยาเขตบางแสนเป็นศูนย์กลาง รวมเป็นเครือข่ายของ
มหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่า BuuNet และในทํานองเดียวกันมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ก็มีการสร้างเครือข่
ายของแต่ละมหาวิทยาลัยและทําการเชื่อมต่อเข้าหากัน โดยมีเครือข่ายของทบวงมหาวิทยาลัยศูนย์กลาง เรียกว่
าเครือข่าย UniNet ทั้งนี้เพื่อให้ทุกมหาวิทยาลัยสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้
อมูลวิชาการของทบวงมหาวิทยาลัย การสืบค้นข้อมูลจากบริการ WWW (World Wide Web)
 ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ และบริการการเรียนการสอนทางไกลด้วยระบบ Video Conference เป็นต้น และเพื่อให้
บุคลากรของมหาวิทยาลัยสามารถใช้ประโยชน์จากระบบเครือข่ายได้อย่างเต็มที่ เครือข่าย UniNet จึงเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทําให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของทุกมหาวิทยาลัยสามารถติดต่อกับเครือข่ายอื่นได้ทั่วโลก

แบนด์วิดท์ (Bandwidth) 
 คําว่าแบนด์วิดท์นั-น เริมคุ้นหูของคนไทยมากขึ-น เมือเริมมีการใช้อินเทอร์เน็ตแพร่หลายยิงขึ-น 
โดยทัวไป เราจะมีความรู้สึกว่า ถ้ามีแบนด์วิดท์มาก เป็นสิงทีดี ซึงความจริงแล้ว ก็ถูกต้องในส่วนหนึง เมือ
พิจารณาแล้ว แบนด์วิดท์นั-น จะถูกใช้ทัวไปใน 2 กรณีคือ 
1. bandwidth ในทางคอมพิวเตอร์ หรือเรียกอีกชือหนึงว่า digital bandwidth คือ อัตราของการส่ง
ข้อมูลจากจุด ก. ไปจุด ข. โดยมีหน่วยวัดเป็นจํานวนบิตต่อวินาที (bits per second: bps) เช่น 
การดาวน์โหลดข้อมูลโดยใช้ ADSL มีความเร็วขาลง 4096 Kbps หมายความว่า การดาวน์
โหลดข้อมูลโดยใช้ ADSL สามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้ 4096 กิโลบิตในเวลา 1 วินาที เป็นต้น 
2. bandwidth ในทางการประมวลผลสัญญาณ อาจเรียกได้อีกชือว่า analog bandwidth คือ 
หน่วยวัดของช่วงของความถีของสัญญาณ ว่าสัญญาณนี- มีความถีสูงสุดต่างจากตําสุดเท่าไหร่ 
โดยมีหน่วยวัดเป็น เฮิร์ต (Hertz: Hz) หรือ ต่อวินาที เช่น การแพร่ภาพโทรทัศน์ในระบบ VHF 
(Very High Frequency) จะใช้ช่วงความถี 30 – 300 MHz เป็นต้น 
โปรโตคอล (Protocol) 
 ในการสือสารกันนั-น จําเป็นจะต้องมีการตกลงกันว่า จะสือสารกันด้วยวิธีใด ใช้ภาษาอะไร ในการ
สือสารของเครืองคอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน นันคือ จะต้องมีการตกลงระเบียบวิธีการในการติดต่อกันก่อน 
สิงนี-คือ โพรโทคอล (Protocol) ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตนั-น มีโพรโทคอลให้ใช้งานมากมาย แต่โพรโทคอ
ลพื-นฐานทีใช้เป็นประจํา ได้แก่ 
1. TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นชุดโพรโทคอลหลักทีถูก
ใช้ในการสือสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในการใช้งานนั-น ก็เพือให้สามารถส่งผ่านข้อมูล
จากต้นทางไปยังปลายทางได้ ไม่ว่าในระหว่างทาง จะเกิดปญหาใด ๆ ขึ-นก็ตาม โพรโทคอลก็ ั
ยังสามารถหาเส้นทางหลีกเลียงปญหาโดยอัตโนมัติได้ ซึง TCP นั-น ทําหน้าทีในการสร้า ั งและ
ควบคุมการสือสาร และมีกลไกควบคุมการรับส่งข้อมูลให้ถูกต้องด้วย ส่วน IP นั-น จะจัดการกับ
ทีอยู่และข้อมูล และควบคุมการส่งข้อมูลบางอย่างทีเกียวข้องกับการค้นหาทีอยู่
2. HTTP (HyperText Transfer Protocol) เป็นโพรโทคอลทีใช้ในการเรียกดูข้อมูลเว็บไซต์ ซึง
จะมีการระบุ http:// นําหน้าชือเครืองคอมพิวเตอร์ทีเราต้องการเรียกดูในช่องใส่ทีอยู่ในเว็บ
บราวเซอร์ เช่น http://www.buu.ac.th ก็จะเป็นการเรียกดูหน้าแรกของหน้าเว็บไซต์ของ
มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นต้น ซึงปกติ เราไม่จําเป็นต้องพิมพ์โพรโทคอลนี-ลงไป เว็บบราวเวอร์จะ
ช่วยเติมให้เราโดยอัตโนมัติ 
3. FTP (File Transfer Protocol) เป็นโพรโตคอลทีใช้ในการรับส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครือง
หนึงไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครืองหนึงโดยตรง ผู้ใช้งานจะมองเห็นชือและนามสกุลของไฟล์ ซึง
สามารถดาวน์โหลดหรือแก้ไขไฟล์ได้เลยโดยตรงด้วยโปรแกรมทีเหมาะสม สามารถใช้โอนย้าย
ไฟล์ในปริมาณมาก ๆ ได้ในคราวเดียว ปจจุบันไม่นิยมใช้เท่าใดนัก เพราะมีความยุ่งยากในการ ั
จัดตั-งและรักษาความปลอดภัย 
นอกจากนี-ยังมีโพรโทคอลอืน ๆ อีกทีถูกใช้งานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึงการใช้งานโพรโทคอล
นั-นจะขึ-นอยู่กับโปรแกรมประยุกทีใช้ เช่น การรับส่งอีเมลใช้โพรโพทคอล POP3 และ SMTP 
ตําแหน่งของเครื(องคอมพิวเตอร์ในอินเทอร์เน็ต 
 ในการรับส่งข้อมูลในอินเทอร์เน็ตนั-น จะต้องมีการระบุทีอยู่ของเครืองคอมพิวเตอร์ทีชัดเจนและ
แน่นอน เพือการรับส่งข้อมูลนั-นไม่มีความผิดพลาดเกิดขึ-นได้ สิงทีจะระบุตําแหน่งของเครืองคอมพิวเตอร์ใน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรียกว่า ทีอยู่ IP หรือIP address ของเครืองคอมพิวเตอร์ 
 IP address ของเครืองคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นหนึงเดียวเท่านั-น ไม่ซํ-ากัน เวอร์ชันทีใช้ในปจจุบัน ั
เป็นเวอร์ชัน 4 (IPv4) ซึงจะมีขนาด 32 บิต โดยจะอยู่ในรูปของตัวเลข 4 ชุด แต่ละชุดจะถูกคันด้วยจุด ซึง
เลขแต่ละชุดจะเป็นเลขฐานสิบและมีค่าอยู่ระหว่าง 0 – 255 ตัวอย่างเช่น 216.239.61.104 192.168.0.1 
เว็บบราวเซอร์จะใช้ IP address นี-ในการติดต่อขอดูหน้าเว็บไซต์จากเครืองคอมพิวเตอร์นั้น ๆ 
รูปแบบของการสือสาร
 เมือทําการสือสารหรือส่งข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั-น สามารถกระทําได้ 2 กรณีคือ 
1. การสื(อสารแบบพร้อมกัน (Synchronous Communication) คือการสือสารทีผู้ส่งสารและ
ผู้รับสารอยู่ในขณะเวลาเดียวกัน แต่ต่างสถานทีกัน ตัวอย่างของการสือสารประเภทนี- เช่น การ
สนทนาผ่านห้องสนทนา (chat), การสนทนาผ่านโปรแกรม instant messaging เช่น MSN, 
GoogleTalk หรือ การประชุมผ่าน Video Conference เป็นต้น เทียบได้กับการสือสารทัวไป 
เช่น การโทรศัพท์ การพูดคุยกัน 
2. การสื(อสารแบบไม่พร้อมกัน (Asynchronous Communication) คือผู้ส่งสารและผู้รับสาร
ไม่อยู่ในขณะเวลาเดียวกัน และอยู่ต่างสถานทีกัน ตัวอย่างของการสือสารประเภทนี- เช่น การ
เขียนความคิดเห็นในกระดานสนทนา, การส่งอีเมล, การเขียนความคิดเห็นในหน้าเว็บ เช่น 
facebook หรือ hi5 เทียบได้กับการสือสารทัวไป เช่น การส่งจดหมาย การส่งโทรเลข หรือ 
การส่งข้อความสั-น SMS

WWW (World Wide Web)
WWW หรือ เวิลด์ ไวด์ เว็บ นั้น รู้จักกันดีในชื่อ เครือข่ายใยแมงมุม เป็นบริการในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่
มีผู้ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน บริการเวิลด์ไวด์เว็บเป็นสถาปัตยกรรมเครือข่ายสําหรับเชื่อมโยงเอกสารที่มีอยู่ใน
เครื่องคอมพิวเตอร์จํานวนมากในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อให้สามารถสืบค้นได้ง่าย โดยมีการทํางานในลักษณะผู้
ขอใช้บริการ-ผู้ให้บริการ (Client/Server) 
บริการเวิลด์ไวด์เว็บเกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1989 โดย Tim Berners-Lee เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัย 
European Particle Physics (CERN) ในกรุงเจนิวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในตอนแรกนั้น Tim ต้องการพัฒนา
ระบบฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลงานวิจัยในด้านฟิสิกส์ แต่พบว่า ข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บไม่เหมาะกับการจัดเก็บลง
ฐานข้อมูลแบบเดิมที่มีใช้งานอยู่ในขณะนั้น Tim จึงได้หันมาใช้วิธีการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลแบบ Hypertext 
(Hypertext Network of Information) ซึ่งทําให้เอกสารต่าง ๆ ที่มีอยู่สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ โดยโปรแกรมที่
ใช้ดูเอกสาร Hypertext หรือโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ที่ CERN เป็นผู้สร้างขึ้นครั้งแรกเกิดขึ้น
ในปี ค.ศ. 1990 แต่เริ่มแจกจ่ายให้กับหน่วยงานอื่น ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปี ค.ศ. 1991 และเมื่อถึง
ปลายปี ค.ศ. 1992 โปรแกรมเว็บบราวเซอร์กว่า 30 โปรแกรมที่ทํางานอยู่บนระบบปฏิบัติการ Unix ได้ถูก
พัฒนาขึ้นโดย CERN และหน่วยงานในมหาวิทยาลัยทั้งในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ในปี ค.ศ.1993 Marc 
Andressen นิสิตมหาวิทยาลัย Illinois เป็นผู้นําทีมนิสิตพัฒนา Mosaic ซึ่งเป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ที่มีการ
แสดงผลแบบกราฟิกตัวแรกของโลกขึ้น ในฐานะส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย National Center for 
Supercomputing Applications (NCSA) ของมหาวิทยาลัย Illinois ในปลายปี ค.ศ. 1993 Mosaic ได้เริ่มถูกใช้
งานอย่างแพร่หลายและได้รับการพัฒนาให้สามารถทํางานได้บนระบบคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เช่น Unix, MS 
Windows, Macintosh เป็นต้น ในขณะนั้นมีจํานวนโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ในโลกสูงถึง 200 กว่าโปรแกรม ในปี 
ค.ศ. 1994 Andressen กับเพื่อนร่วมงานส่วนหนึ่งลาออกจาก NCSA ไปตั้งบริษัทและได้พัฒนาโปรแกรมเว็บ
บราวเซอร์ในรูปแบบการค้าชื่อ Netscape ขึ้น นอกจากนี้ยังมีบริษัทซอฟต์แวร์อีกหลายบริษัทได้ถูกจัดตั้งขึ้น ซึ่ง
จากการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลาอันสั้นนี้แสดงให้เห็นว่าเวิลด์ไวด์เว็บได้เปลี่ยนโฉมหน้าของวงการคอมพิวเตอร์
ขึ้นใหม่อย่างสิ้นเชิง โครงการ NCSA ได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1996 แต่ในขณะเดียวกัน Netscape และไมโครซอฟต์
ต่างเริ่มลงทุนด้วยเม็ดเงินหลายร้อยล้านเพื่อพัฒนาโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ของตนให้ดีและมีส่วนแบ่งในการใช้
งานมากยิ่งขึ้น เว็บบราวเซอร์ที่นิยมใช้ในการดูเว็บ
 เช่น MS Internet Explorer, Mozilla Firefox, Opera, Safari 
สถาปัตยกรรมแบบระบบรับ/ให้บริการ (Client/Server) 
 การทํางานของสถาปตยกรรมนี- จะมีอยู่ 2 บทบาทด้วยกันคือ ั
1. ระบบรับบริการ หมายถึง โปรแกรมทีทําหน้าทีในการส่งคําร้อง (request) ไปให้กับผู้ให้บริการ 
เพือขอให้ผู้ให้บริการดําเนินการอย่างใดอย่างหนึง เมือได้ผลลัพธ์แล้ว ก็นําผลลัพธ์นั-นมา
แสดงผลให้ผู้ใช้งานได้เห็น Client นี-อาจมีชือเรียกหลายอย่าง เช่น เครืองลูกข่าย ผู้ใช้บริการ
2. ระบบให้บริการ หมายถึง โปรแกรมทีทําหน้าทีรอรับคําร้องจากผู้ขอใช้บริการ เมือได้รับคําร้อง
แล้วก็นําคําร้องนั-นไปประมวลผล เมือได้ผลลัพธ์ก็จะทําการตอบกลับ (reply) โดยส่งให้ผู้ขอใช้
บริการต่อไป Server อาจมีชือเรียกได้อีก เช่น เครืองแม่ข่าย 
ชื่อโดเมน (Domain name) 
 Domain name หรือ ชือโดเมน คือ ชือสัญลักษณ์ทีถูกตั-งขึ-นมาเพือให้มนุษย์สามารถสือสารกัน
เข้าใจได้รวดเร็วและจําได้ง่ายขึ-น โดยปกติทัวไปแล้วชือโดเมนจะประกอบด้วยตัวอักษรโรมันและตัวเลข ซึง
จะใช้แทนคอมพิวเตอร์หรือเว็บไซต์นั้น ๆ ชือโดเมนจึงถูกตั-งให้สือความหมายถึงเนื-อหาในหน้าเว็บไซต์นั้น
ด้วย เช่น www.buu.ac.th, www.facebook.com, www.shopping.co.th ซึงในความเป็นจริงนั-น ชือโดเมน
และ IP address คือสิงทีสามารถใช้แทนกันได้ สําหรับมนุษย์นั-น จะคุ้นเคยกับชือโดเมน แต่สําหรับ
คอมพิวเตอร์ จะใช้ IP address 

Domain Name System 
Domain Name System เป็นกลไกทีทําให้สามารถใช้ชือโดเมนแทนการใช้ IP address ในการ
เข้าถึงเครืองคอมพิวเตอร์หรือหน้าเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ตได้ ตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์เครืองหนึงมี IP 
address คือ 202.28.77.252 ถ้าเราต้องการทีจะติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครืองนี-เราจะต้องระบุหมายเลขนี- 
แต่เมือใช้ระบบ DNS เราก็สามารถกําหนดชือสัญลักษณ์ให้กับหมายเลขนี-ได้ ในทีนี-คือ www.buu.ac.th เมือเราต้องการทีจะเข้าถึงคอมพิวเตอร์เครืองดังกล่าว เราก็สามารถทีจะพิมพ์ www.buu.ac.th ได้เลยโดยทีไม่
ต้องจําว่า หมายเลข IP address ของเครืองดังกล่าว คืออะไร ซึงชือโดเมนทั-งหลายนี- จะถูกเก็บไว้ใน DNS 
Server เมือเราจะใช้งานหน้าเว็บ มันจะถูกเรียกใช้เพือแปลงทีอยู่ให้เราโดยอัตโนมัติ


โครงสร้างชือของ Domain Name System เป็นระบบแบบลําดับชั-น กล่าวคือ ระบบนี-ทําการแบ่ง
คอมพิวเตอร์ออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มเรียกว่าโดเมน ในแต่ละโดเมนก็แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้หรือทีเรียกว่า 
sub domain และในแต่ละกลุ่มย่อยก็สามารถแบ่งต่อออกไปเป็นกลุ่มย่อยได้อีก เช่น 
o .com หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานประเภทธุรกิจหรือหน่วยงานเอกชน 
o .gov หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานภาครัฐบาล 
o .edu หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานการศึกษา 
o .org หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานหรือองค์กรทีไม่หวังผลกําไร 
o .th หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย 
o .us หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา 

สรุป
ในการเชือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายนั้น สามารถกระทําได้หลายวิธี ทีสําคัญจะต้องมีการ
ทํางานร่วมกันของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทีใช้ในการเชือมต่อ 
เช่น แผงวงจร โมเด็ม สายเคเบิลต่าง ๆ รวมไปถึง hub switch ในทางซอฟต์แวร์นั้น ก็หมายถึงกฎ
ระเบียบวิธีการทีคอมพิวเตอร์จะทําการเชือมต่อกัน นั้นคือ โพรโตคอล 
 ในการเชือมต่อระยะใกล้ในระบบ LAN นั้น จะเป็นการเชือมต่อเครืองคอมพิวเตอร์ไม่กีเครืองเข้า
ด้วยกัน แต่เมือนําระบบ LAN หลาย ๆ ระบบมาเชือมต่อกัน จะทําให้เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น เรียกว่า ระบบ WAN และเมือเราเชือมตอ่กันทั้งโลก จะทําให้เกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ตขึ้นมา ซึงถือว่าเป็นเครือข่าย
ทีใหญ่ทีสุดในโลก และมีข้อมูลมากมายมหาศาล การใช้งานหนึงของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทีได้รับความนิยม
มากทีสุดในขณะนี้คือ การบริการ WWW ซึงผู้ใช้บริการสามารถใช้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ในการเรียกดู
หน้าเว็บไซต์ต่าง ๆ เพือให้แสดงข้อมูลทีต้องการทราบได้ 
 ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตนั้น มีข้อมูลและผู้คนจากหลากหลายประเทศ หลากหลายความคิดมา
พบปะกัน ในการใช้งานให้เกิดประโยชน์สร้างสรรค์ ผู้ใช้งานต้องคํานึงถึงจริยธรรมในการใช้
งานด้วย เช่น การไม่หลงเชือข้อมูลหรือข้อความง่าย ๆ การใช้ถ้อยคําทีสุภาพในการสนทนา การไม่ใช้
อารมณ์หรือดูหมินในการสนทนา การไม่ใช้ข้อความเท็จในการเขียนบนกระดานสนทนา